วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ในอนาคตฉันอยากเป็น.....?

ในอนาคตฉันอยากเป็น...?
ในอนาคตฉันอยากเป็น นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล และ สัตวแพทย์


โรคผิวเผือก

โรคอัลบินิซึม (albinism) โรคอัลบินิซึม หรือโรคผิวเผือก 
     เกิดจากยีนด้อย ที่มีอยู่ในพันธุกรรม ทำให้ไม่สามารถ สร้างเอนไซม์ เมลาโนโซท์ ไทโรซิเนส melamocyte tyrosinase ที่จะเปลี่ยนไทโรซีน ซึ่งเป็นโปรตีน สำคัญตัวหนึ่ง ไปเป็นเมลานิน melanin ซึ่งทำให้ผู้ที่เป็นโรคนี้ แสดงลักษณะ เผือกคือ มีสีผิวขาว ผมขาว ตาสีขาว ม่านตาสีเทาและโปร่งแสง รูม่านตา สะท้อนแสงออกมาเป็นสี อ่านเพิ่มเติม

โรคลูคีเมีย

โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวหรือรูคีเมีย 
     เป็นโรคมะเร็งชนิดหนึ่งของระบบเลือด อันเกิดจากการที่ไขกระดูกทำหน้าที่ผิดปกติ สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีการเจริญเติบโตผิดปกติทั้งรูปร่าง และจำนวนออกมาเป็นจำนวนมาก ทั้งที่มีอยู่ในไขกระดูก และออกมาตามกระแสเลือด มีผลทำให้การทำงานของระบบเม็ดเลือดเสียไป อาจเป็นแบบเฉียบพลัน หรือเป็นแบบช้าๆ ค่อย อ่านเพิ่มเติม

โรคธาลัสซีเมีย

โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย

      เป็นโรคที่มีความผิดปกติในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง จากการที่เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ โรคนี้เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย พ่อและแม่จะเป็นผู้ถ่ายทอดยีนผิดปกตินี้ไปยังลูก พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ได้ทั่วโลก ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ประมาณร้อย อ่านเพิ่มเติม

โรคดักแด้

โรคดักแด้ หรือ Epidermolysis Bullosa (EB) อยู่ในกลุ่มโรคประเภทโรคผิวหนัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติที่ไม่ค่อยพบนัก มีสาเหตุจากการกลายพันธุ์จากยีนเคราติน มีอาการผิวแห้ง บอบบางอย่างรุนแรงและมีแผลพุพอง โรคนี้ อ่านเพิ่มเติม

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน
      ถือว่าเป็นโรคที่คนไทยป่วยกันมาก เป็นโรคยอดฮิต 1 ใน 10 ของโรคที่คุกคามคนไทยมากที่สุด พบได้ในทุกช่วงวัย และยังมีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นทุกปี  ทั้งนี้การเป็นโรคเบาหวานเกิดขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น อาหาร พฤติกรรมการใช้ชีวิต การออกกำลังกาย กรรม อ่านเพิ่มเติม

โรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือโรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)


โรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือโรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด  เป็นโรคที่พบไม่บ่อยโดยมากพบในเพศชาย
ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียจะมีโปรตีนตัวหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือดหายไปหรือมีไม่เพียงพอ  โปรตีนเหล่านี้รู้จักกันในนาม แฟคเตอร์ (Factor) ซึ่งมี อ่านเพิ่มเติม